วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559

การตรวจรับสิ่งอุปกรณ์



การตรวจรับสิ่งอุปกรณ์

-----------------------


การตรวจรับสิ่งอุปกรณ์ ( ตอนที่ 1 )




การตรวจรับสิ่งอุปกรณ์ ( ตอนที่ 2 )




การตรวจรับสิ่งอุปกรณ์ ( ตอนที่ 3 )
















วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ขอบเขตการเรียนการสอน และบทนำ

การเรียนการสอนวิชา การจัดซื้อจัดจ้าง

(หลักสูตรนายสิบขั้นต้นอิเล็กทรอนิกส์)

เรื่อง ขอบเขตการเรียนการสอน และบทนำ

---------------------------------------------------------

















ระเบียบ - คำสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการจัดซื้อ - จ้าง


การเรียนการสอนวิชา การจัดซื้อจัดจ้าง
เรื่อง ระเบียบ - คำสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการจัดซื้อ - จ้าง








































































เจ้าหน้าที่พัสดุและ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย
ระเบียบสำนักนายกฯ พ.ศ.2535

คำสั่ง ทบ. ที่ 908/2534
เรื่อง การกำหนดเจ้าหน้าที่พัสดุและ หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย 
ลง 25 ก.ค. 34 

เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วย
 
หน.เจ้าหน้าที่พัสดุของกรมฝ่ายฯ ที่มีความรับผิดชอบใน สป.
 


หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ของหน่วยอื่น




หน้าที่ จนท.พัสดุ-หน.จนท.พัสดุ
 






วันจันทร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์










ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์
-------------------------------------------

วิชาการจัดซื้อและการจ้าง

       หลักการทั่วไปของการส่งกำลังบำรุง ทบ.
  การปฏิบัติการทางทหาร  ประกอบด้วย 3 งาน
1. การรบ (COMBAT) : การปฏิบัติการที่เป็นการเข้าต่อสู้กับข้าศึกโดยตรง  ดำเนินการโดย

    ทหารราบ  ทหารม้า  และ  กำลังรบพิเศษ
2. การสนับสนุนการรบ (COMBAT SUPPORT) : การฏิบัติการเพื่อเพิ่มอำนาจกำลังรบให้มากยิ่งขึ้น  ดำเนินการโดย ทหารปืนใหญ่  ทหารช่าง  ทหารสื่อสาร  หน่วยบินทหารบก  และ หน่วยทหารวิทยาศาสตร์
3. การสนับสนุนการช่วยรบ (COMBAT SERVICE   
     SUPPORT) : การปฏิบัติการเพื่อให้การรบ และ
    การสนับสนุนการรบ  ดำเนินการได้โดยต่อเนื่อง  
    เป็นระยะเวลายาวนาน เช่น ทหารพลาธิการ

qการสนับสนุนการช่วยรบ ประกอบด้วย 3 กิจกรรมหลัก  คือ

                 1) การส่งกำลังบำรุง (LOGISTICS)
                 2) การกำลังพล (PERSONNEL)   
                 3) การกิจการพลเรือน (CIVIL AFFAIRS)

q  ขอบเขตงานการส่งกำลังบำรุง

         1) การส่งกำลัง (SUPPLY)

  2) การซ่อมบำรุง (MAINTENANCE)

  3) การขนส่ง (TRANSPORTATION)

  4) การบริการทางการแพทย์ (HEALTH SERVICE SUPPORT)

  5) การบริการอื่น ๆ (OTHER SERVICE)


ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลัง สป.2และ4 พ.ศ.2534  ลง 30 ธ.ค.34
การส่งกำลัง : การปฏิบัติการในเรื่อง  ความต้องการ   การจัดหา  การแจกจ่าย และการจำหน่าย สป.  รวมทั้งการควบคุมการปฏิบัติการตามขั้นตอนดังกล่าวด้วย



การจัดหา : กรรมวิธีเพื่อให้ได้มาซึ่งอุปกรณ์
ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลัง สป.2 และ4 พ.ศ.2534  ลง 30 ธ.ค.34

1.การจัดซื้อและการจ้าง                                    7.   การโอน
2.การรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ              8.   การเบิก
3.การซ่อมบำรุง                                              9.    การผลิต
4.การเก็บซ่อม                                               10.  การเกณฑ์และการยึด
6.การยืม                                                      11.  การแลกเปลี่ยน


หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาของ ทบ.
            กรมฝ่ายยุทธบริการ ( 9 หน่วย )
    พธ.ทบ.  ขส.ทบ.   สพ.ทบ.  สส.  ยย.ทบ.  พบ.  วศ.ทบ.  กส.ทบ.  กช.
                 หน่วยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( 3 หน่วย )
            สบ.ทบ.          สก.ทบ.         ยศ.ทบ.
ความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์


ระเบียบกองทัพบกว่าด้วยความรับผิดชอบในสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.2555
4.12 สิ่งอุปกรณ์สายพลาธิการ หมายถึง
      อาหารสำหรับคน เครื่องใช้สำหรับประกอบอาหาร และการเลี้ยงดู ตลอดจนอุปกรณ์ในการเก็บรักษา เครื่องแต่งกาย และสิ่งของเครื่องใช้ประจำกายและประจำหน่วยร่มและอุปกรณ์สำหรับการกระโดดร่ม และส่งกำลังทางอากาศ
      น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันอุปกรณ์  และก๊าซเชื้อเพลิง เครื่องมือเครื่องใช้ในกิจการน้ำมันทั้งปวง
4.13  - วัสดุและเครื่องใช้ประจำ สำนักงาน อาคาร เรือนโรง และคลังสิ่งอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการ บริการซักรีด น้ำอาบและการศพในสนาม
           - รถยก และเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในงานคลังสิ่งอุปกรณ์ วัสดุทำความสะอาด ประเภท ยาขัดหนัง โลหะ วัสดุสังเคราะห์อื่นๆ
          -  สิ่งอุปกรณ์ที่ไม่สามารถอนุโลมเข้าอยู่ในสายงานอื่นใด

ตอนที่่ 1




ตอนที่ 2


คณะกรรมการ



แผนกวิชาการจัดหา กศ.รร.พธ.พธ.ทบ.
สื่อการเรียนการสอนวิชาการจัดซื้อจัดจ้าง
เรื่อง คณะกรรมการ
---------------------------------------------

คณะกรรมการ

การแต่งตั้งคณะกรรมการ (นร.ปี 35)  : ข้อ 34
ผู้แต่งตั้ง  :  หน.ส่วนราชการ
1. คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
2. คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา
3. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
4. คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ         
5. คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
6.  คณะกรรการตรวจรับพัสดุ
7.  คณะกรรมการตรวจการจ้าง


@ คณะกรรมการประกวดราคา ตามโครงการ

(ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ.2549)

1. คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน
    (Terms of Reference:TOR) และ ร่างเอกสารการประกวดราคา
2. คณะกรรมการประกวดราคา ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
สาระโดยสรุป
       - คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทำหน้าที่ตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง     
       - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ทำหน้าที่ตรวจรับพัสดุทั้งการซื้อ และการจ้าง (ที่มิใช่การก่อสร้าง)
       - ให้มีผู้ควบคุมงานในการก่อสร้างของทางราชการทุกครั้ง และ แยกหน้าที่ความรับผิดชอบของ
ผู้ควบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจการจ้าง  ออกจากกันให้ชัดเจน
องค์ประกอบของคณะกรรมการ (นร. : ข้อ 35)
  • ประธาน 1 คน
  • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน
  • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ
**  ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้
     **   การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่  (นร. ปี 35 : ข้อ 35 (วรรค 2)
              เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ 42 (1) หรือข้อ 49 แล้วรายงานประธาน

ข้อห้าม !!  (นร. ปี 35 : ข้อ 35 (วรรค 3)
ห้าม   คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา  เป็น คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
ห้าม  คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา และ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา เป็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ข้อยกเว้นการแต่งตั้งกรรมการ (นร. ปี 35 : ข้อ 35 (วรรคท้าย)
            การซื้อหรือจ้าง ราคาไม่เกิน 10,000 บาท จะตั้ง ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ที่ไม่ใช่ ผู้จัดซื้อ/จัดจ้าง 1 คน เป็น ผู้ตรวจรับพัสดุ หรือ ผู้ตรวจงานจ้าง โดยให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และ คณะกรรมการตรวจการจ้าง

การประชุมของคณะกรรมการ (นร. : ข้อ 36)



การแต่งตั้งคณะกรรมการ

คำสั่ง กห (เฉพาะ) ที่ 50/50 เรื่อง การพัสดุ  ลง 16 มี.ค.50 : ข้อ 4



                         การแต่งตั้งคณะกรรมการแต่ละคณะตามระเบียบสำนักนายกฯ 
                                  ให้แต่งตั้งจากข้าราชการในระดับต่างๆ  ดังนี้
     4.2   การแต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง และคณะกรรมการแลกเปลี่ยนพัสดุกับเอกชน  ให้แต่งตั้งจากข้าราชการ ชั้นสัญญาบัตร หรือผู้ที่ทางราชการสั่งให้     ทำหน้าที่ น.สัญญาบัตร







คำสั่ง ทบ.ที่ 620/2531 เรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อ/จ้าง

ลง 14 มิ.ย.31  : ข้อ 4

                      ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อ/จ้าง ต้องเป็น หน.ส่วนราชการที่ได้รับ
งบประมาณรายจ่าย ซึ่งดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง  และดำรงตำแหน่ง ตั้งแต่ ผบ.กรม หรือเทียบเท่า
ขึ้นไป



หลักเกณฑ์การแต่งตั้งคณะกรรมการ

คำสั่ง ทบ.ที่ 620/2531 ลง 14 มิ.ย.31  :  ข้อ 5

5.1     การซื้อ / จ้างที่มีวงเงินอยู่ในอำนาจอนุมัติของ
         ผบ.กรม / ผบ.พล / มทภ. หรือเทียบเท่า  
  ให้แต่งตั้งคณะกรรมการ จาก
  - นขต.ของ ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง หรือ
  - นขต.ทบ.
  อย่างน้อย 3 นาย

5.2      การซื้อ / จ้างที่มีวงเงินอยู่ในอำนาจอนุมัติของ
          ผบ.ทบ.ขึ้นไป  ให้แต่งตั้งคณะกรรมการจาก
 - นขต. ตัวเอง  อย่างน้อย  1 นาย
 - นขต.ทบ.  อย่างน้อย   2 หน่วย
  หรือ
 - ผู้แทนหน่วยเหนือของตน อย่างน้อย 1 นาย และ
    นขต.ทบ. อย่างน้อย 1 นาย


คำสั่ง ทบ.ที่ 620/2531 ลง 14 มิ.ย.31  :  ข้อ 5.4

ห้าม    แต่งตั้ง
                               - จนท.กฏหมาย
                               - จนท.การเงิน
                               - จนท.งบประมาณ
                               เข้าร่วมเป็นกรรมการจัดซื้อหรือจ้าง
                ห้าม    ขอกรรมการร่วมจาก กรมฝ่ายเสนาธิการ , จบ. , สตช.ทบ.(สตน.ทบ.)



หนังสือ กบ.ทบ. ที่ กห 0404/461 เรื่องกำหนดมาตรการใน


การตรวจรับ/ ตรวจการจ้าง  ลง  13 ก.พ.41



3.2    การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ  ต้องมีผู้แทน
  หน่วยใช้ร่วมด้วย อย่างน้อย 1 นาย
  เว้น การจัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคาหรือวิธีสอบราคา
           ที่มีวงเงินตามสัญญา หรือ ข้อตกลง ไม่เกิน 100,000 บาท 
           ทั้งนี้ ถือเป็นการปฏิบัติ เพิ่มเติมจาก คำสั่ง ทบ.ที่ 620/2531
  ลง 14 มิ.ย.31
  (กรณีมีหน่วยใช้หลายหน่วย ให้พิจารณาจากหน่วยหลัก) 



หนังสือ กบ.ทบ. ที่ กห 0404/461 เรื่องกำหนดมาตรการใน


การตรวจรับ/ ตรวจการจ้าง  ลง  13 ก.พ.41



3.3   ห้าม   แต่งตั้ง จนท.กบ.  และ จนท.พัสดุของหน่วย 
         เป็นคณะกรรมการจัดซื้อ / จ้าง
งานก่อสร้าง ให้แต่งตั้งผู้แทนหน่วยใช้ /หน่วยรับประโยชน์    
   เป็นผู้ควบคุมงานเพิ่มอีก 1 นาย โดยพิจารณา น.สัญญาบัตร
   ที่มีคุณวุฒิเหมาะสม ผ่านการอบรมเป็นผู้ควบคุมงานจาก ยย.ทบ. 
เว้นแต่ กรณีไม่มีผู้มีคุณสมบัติดังกล่าว ให้พิจารณาผู้แทนของ
   หน่วยที่มีคุณวุฒิเหมาะสมแทน